ช่วงที่ 2
1 อภิสิทธิ์ / อนุพงศ์
อาคารกระจก ภัยคกุ คามของงานสถาปัตยกรรม วัตถุประสงค์
– เพื่อให้คานึงถึงเรื่องการประหยัดพลังงาน
– เพื่อให้ทราบถึงปัญหาของการใช้กระจกในอาคาร
– เพื่อพิจารณาและเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของอาคารที่ออกแบบ
– เพื่อนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดีไซน์ในการสร้างผลงาน
– เพื่อให้เกิดแนวความคิดว่า “กระจก” ไม่ใช่ทางเลือกอันดับแรกเสมอไป
เนื้อเรื่อง
ในปัจจุบันพลังงานเริ่มมีการใช้มากขึ้นทาให้เกิดปัญหามากขึ้นตามมา และมีกระแสการออกแบบ อาคารแบบยั่งยืนหรืออาคารสีเขียว เป็นเป้าหมายของสังคมเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก ผู้ออกแบบ อาคารกระจกที่ไม่สามารถป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคารก็จะไม่เป็นที่ยอมรับ ซึ่งส่งผลเสียต่อสังคมและ โลกในอนาคต
ขณะที่ผทู้ ี่ออกแบบอาคารกระจกมีจานวนมากขึ้น เนื่องจากคนส่วนมากคดิ ว่า การนากระจกเข้า มาดีไซน์เข้ากับอาคาร เป็นการคานึงถึงแค่ความสวยงาม ที่มีความทันสมัย และเชื่อว่าเทคโนโลยีของ ระบบในปัจจุบันช่วยป้องกันความร้อนได้ ทาให้เกิดปัญหามากขึ้นจนต้องแก้ไขด้วยวิธีการต่างๆโดยการ ใช้ระแนง การใช้วัสดุปิดผิว หรือวัสดุกันความร้อน แล้วทาไมผู้ออกแบบไม่คิดถึงสภาพอากาศของแต่ละ พื้นที่
ศึกษาเพิ่มเติม
http://www.nattawitkanchang.com/2010/08/blog-post.html

Click to access column5.pdf

__________________________________________
2 รัตติกาล / นันท์ณวัฒ
what’s better?? renovation or new construction
ต้องการแชร์ความคิดเห็นในเรื่องของการนาอาคารเก่ามาประยกุ ต์ใช้มาสร้างใหมห่ รือการออกแบบ อาคารใหม่ อะไรที่มีข้อดี-ข้อเสีย แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ปัจจยั ของทงั้ สองรูปแบบขนึ้ อย่กู บั อะไรบ้าง
จดุประสงค์ของการสมัมนา
– เพื่อเป็นการเสนอ แบง่ ปัน แนวความคิดตามหวั ข้อ
– เพื่อให้เห็นแนวทางในการนาอาคารเก่ามาประยกุต์ใช้ตามฟังก์ชนัของอาคารที่ต้องการ
– เพื่อให้ทราบถึงข้อดี-ข้อเสียของทงั้การrenovationและการสร้างอาคารใหม่ว่าสิ่งใดจะ ค้มุคา่และตอบสนองความต้องการได้มากกว่ากัน
__________________________________________
3 ภัทรวิทย์ / นิคม

4 เปรมปิติ / นพดล
“สถาปัตยกรรมสีเขียวกับความท้าทายของสถาปนิก”
จากการสัมมนาครั้งที่แล้ว
“ปัญหาเรื่องน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทำให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของที่อยู่อาศัย เห็นปัญหาซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่าที่อยู่อาศัยในปัจจุบันก็ไม่ใช่สถาปัตยกรรมแบบยั่งยืนและในอนาคตที่อยู่อาศัยจริงๆควรจะเป็นอย่างไรถึงจะเรียกได้ว่ายั่งยืนจริงๆ”

สถาปัตยกรรมยั่งยืนมีมานานแล้วหรือเพิ่งจะเกิดขึ้นหรือที่จริงแล้วเราลืมมันไป….
สถาปัตยกรรมยั่งยืนจริงๆคืออะไร
สิ่งที่สถาปนิกต้องคำนึงว่าทำอย่างไรกับงานออกแบบให้ยั่งยืน
องค์ความรู้ใดที่สถาปนิกไทยยังไม่สามารถนำมาใช้ได้สำหรับการออกแบบที่ยั่งยืน
สิ่งที่ยากหรือเป็นปัญหาสำหรับสถาปนิกในการออกแบบที่ยั่งยืนคืออะไร
สถาปัตยกรรมยั่งยืนจะเป็นอย่างไรในเมืองไทย
จุดประสงค์
เพื่อทำให้เข้าใจและมองเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่าจริงๆแล้วสถาปัตยกรรมยั่งยืนคืออะไร
เพื่อให้เล็งเห็นถึงองค์ความรู้หรือสิ่งที่ควรจะรู้และศึกษาสำหรับนำไปใช้ในการออกแบบ
เพื่อมองถึงสิ่งที่เราควรให้ความสำคัญสำหรับการออกแบบในงานสถาปัตยกรรม
เพื่อมองว่าสถาปัตยกรรมยั่งยืนในเมืองจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด
5 จักรพงศ์ / สุรพงศ์

20111130-173116.jpg
6 อธิคม / จงจิตต์
อนาคตสถาปัตยกรรมไทยในยุคสมัยบ้านเมืองพัฒนา
ภูมิปัญญาทางด้านสถาปัตยกรรมของบรรพบุรุษไทย ได้สร้างสรรค์สิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น วัด บ้านเรือน ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ใช้สอยที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วิธีการที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าฝนจะตก น้ำท่วม อากาศร้อนหรือหนาว ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยก็สามารถรับมือได้เป็นอย่างดี
แต่ในยุคที่บ้านเมืองเรากำลังพัฒนาไปข้างหน้าเรื่อยๆ เศรษฐกิจ สังคม บ้านเมืองเจริญเติบโตและขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงเกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งทางด้าน ตัวบุคคล ทัศนคติ จิตใจ วัฒนธรรม ประเพณี สังคม ฯลฯ ผู้คนต่างฝักใฝ่ในความเจริญให้แก่ตนเองและครอบครัว โหยหาความสุขสบายและสิ่งใหม่ที่คิดว่า “ศิวิลัย”กว่าของเดิม
ดังนั้น เรา ในฐานะคนไทย ก็ย่อมต้องอนุรักษ์และสืบสานสถาปัตยกรรมไทยไว้ และจะมีวิธีการนำไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบไหนเพื่อให้เข้ากับบ้านเมืองในสมัยนี้ สถาปัตยกรรมไทยจะมีอนาคตอย่างไร จะเลือนหายไปตามกาลเวลาหรือกลับมารุ่งเรืองเฟื่องฟูอีกครั้ง
———————————-
7 ภานุพงศ์ / จิรายุทธ

รายละเอียดที่ส่งมาจากกลุ่มที่จะดำเนินการสัมมนาในอาทิตย์นี้
ถ้าหากมีข้อมูลหรือลิ้งค์เพิ่มเติมให้โพสต์เอาไว้ที่นี่นะครับ เผื่อเพื่อนๆจะได้เข้าไปดูกัน

1 วิศรุต / รัฐเกล้า
หัวข้อการสัมมนา “มุมพอเพียงของสถาปนิก” อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม

2 ประชา / เกศทิพย์
หัวข้อการสัมมนา ” สถาปนิก กับ สถาปัตยกรรมในอนาคต” อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม

  • อยากรู้ว่า  ถ้าอนาคตเกิดวิกฤตโลกร้อน  หรือโลกแตก 2012  จริงๆ  แต่มนุษย์ยังคงเหลืออยู่  ในฐานะสถาปนิกจะมีการวางแผนหรือออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไรให้เข้ากับสถานการณ์
  • อยากรู้สถาปัตยกรรมในอนาคตจะเป็นอย่างไร  รูปร่างหน้าตา  หรือการใช้สอยต่างๆ จะเปลี่ยนไปจากเดิมหรือไม่
  • อยากเห็น วิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมในอนาคต  ซึ่งมันมีการพัฒนามาตั้งแต่อดีต  ปัจจุบัน  และกำลังจะเกิดในอนาคต

3 เบ็ญจพร / รุจิเรข
หัวข้อการสัมมนา “ภูมิปัญญาสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก สู่วิถีแห่งอนาคต” อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม

สำหรับทุกกลุ่มที่กำลังเครียมการสัมมนา ให้ลองเข้าไปศึกษา รูปแบบ เนื้อหา การตั้งประเด็น ในลิ้งค์ที่เอามาให้ข้างล่างนี้นะครับ
อันแรกคือ วารสารอาษา ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศในเชิงกว้าง ต้องใช้เวลาอ่านหน่อยแต่เชื่อว่าจะเป็นประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มที่ยังคิดหัวข้อไม่ออกลองดูเนื้อหาในวารสารแต่ละฉบับเป็นแนวทางก็น่าจะดี

อันต่อมาเป็นคลิปใน youtube ช่องของ TCDC โดยเฉพาะ ลองเข้าไปดูบรรยากาศ รูปแบบ และวิธีการดำเนินการสัมมนาแล้วนำมาปรับใช้กับกลุ่มของตัวเองได้ ดูแล้วจะทำให้เห็นภาพรวมของการสัมมนาที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ผู้ดำเนินการสัมมนา
ช่วงที่ 1
1 วิศรุต / รัฐเกล้า
2 ประชา / เกศทิพย์
3 เบ็ญจพร / รุจิเรข
———————————-
4 เปรมปิติ / นพดล
5 จักรพงศ์ / สุรพงศ์
6 อธิคม / จงจิตต์
———————————-
7 ภานุพงศ์ / จิรายุทธ
8 ณัฐพงศ์ / พิชชา
9 พนมพร / ธราดล
———————————-
ช่วงที่ 2
1 อภิสิทธิ์ / อนุพงศ์
2 รัตติกาล / นันท์ณวัฒ
3 ภัทรวิทย์ / นิคม
———————————-
4 สุนันทา / ฐาปนี
5 ชยุต / วชิรปิลันธน์
6 พรชนก / พิมลพรรณ
———————————-
7 ภัทรวดี / หทัยชนก
8 จันทร์จิรา / นิลปัทม์
9 นฤมล / ชนิดา

อย่างที่เขียนนะครับ ว่าอันนี้เป็น lecture สัปดาห์ที่ 1 และ 2 ของผม และสำหรับของอาจารย์ปรีชาในสัปดาห์ที่ 3

2011_week_1_Introduction, 2011_week 2-01_Paradigm Shifting to Modernity, 2011_week 2-02_Beginning of modern, 2011_ week 3_eModernArchitecture

สำหรับเอกสารอ่านประกอบให้เข้าไปที่ catagories ด้านข้างเลือก 701325-ArchConcept&Theory จะมี list ของ post เก่าเพื่อให้คุณ ๆ download ออกมาอ่านกันได้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ architects และ timeline เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจในการเรียนวิชานี้

ขอให้นิสิตช่วยส่งรายชื่อและมาพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อคุยถึงสถาปนิกที่สนใจด้วยนะครับ ดูลำดับการส่งงานในแบบคำสั่งงานด้วย (701325_Arch Concept & Theory_2011-Assignment) แล้วเจอกันวันอังคาร

Case Study: Concept of form 1

Scissor House / BCHO Architects

Autostella Showroom / Supermachine Studio

The Pentagonal House by Kazuya Morita Architecture

Pan Long Gu Church / Atelier 11

Giant LEGO-like Structures to Enliven Downtown Valencia

House for elderly people by Aires Mateus Arquitectos

ขอโทษทีครับที่ upload ช้าไปนิด รายละเอียดเพิ่มเติมที่ระบุใน course syllabus ว่าจะสามารถหาได้ใน archun ตรงนี้

มีรายละเอียดในส่วนของมาตราฐานการเรียนรู้และหนังสืออ้างอิงคิดว่าคงจะมีประโยชน์บ้าง

701325_Arch Concept & Theory_2011

มีหนังสือแนะนำเกี่ยวกับการเขียนแบบทุกคนน่าจะลองไปหามาดูกันนะ

ทั้งหมดมีอยู่ในห้องสมุด โดยเฉพาะหนังสือ Detail ลองไปดูวิธีการเขียนแบบขยายสวยๆให้อ่านเข้าใจง่ายว่าเขียนแบบไหน

1) มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับ 2549

2) Architecture in Detail

3) DETAIL: REVIEW OF ARCHITECTURE AND CONSTRUCTION DETAILS

4) DETAIL Green

ส่วนอันนี้เป็นเวบทำเนียบวัสดุก่อสร้าง เอาไว้หาสเปควัสดุชนิดต่างๆมีหมดทั้งพื้นผนังหลังคาและอื่นๆ http://www.thaibuild.com/

/////////////////////////////////////////////////////////////////////////

รูปภาพโมเดลเพิ่มเติมให้เข้าไปดูที่ Facebook อาจารย์เก็ท

STU2: Project2

รายละเอียดงานปฏิบัติการณ์ออกแบบชิ้นที่ 2 701213-2010-Project2 Community Mall

ประกาศกรมโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดพิษณุโลก

Wyne Sales Gallery (Completed images) Design Team: Pitupong Chaowakul with Suchart Ouypornchaisakul, Nuntawat Tasanasangsoon, Wattikon Kosonkit, Santi Sarasuphab Landscape Design: Sanitas Studio Interior Design: Design Plus Style Co.,Ltd. Client: Sansiri … Read More

via Supermachine Studio's Blog

Ueda San and His Apartment TOKYO APARTMENT  ในการดูงานสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะบ้านมักมีรายละเอียดปลีกย่อยและความพิเศษกว่าการดูงานสถาปัตยกรรมประเภทอื่น  บ้านเป็นสถาปัตยกรรมขนาดเล็กที่แสดงความเป็นปัจเจกของเจ้าของ และขณะเดียวกันมันก็สะท้อนความคิดของสถาปนิก ความน่าสนใจในการดูบ้านนั้นอาจแยกได้สองแบบหากเราจะแบ่งแบบหยาบๆ แบบแรก เราอยากไปเยี่ยมดูบ้านของคนมีชื่อเสียงเพราะด้วยความน่าสนในใจในตัวบุคคลคนๆนั้นทำให้ “สถานที่”หรือว่า”บ้าน”หลังนั้นเต็มไปด้วยเรื่องราวและประวัติศาสตร์ของบุคคลนั้ … Read More

via Tokyowing's Blog

Update – ยังมีอีกหลายคนไม่ได้แจ้งชื่อบล๊อคเข้ามา และอีกหลายคนยังไม่ได้เริ่มเขียน ขอเตือนว่าอย่าชะล่าใจ และอาจารย์มีข่าวดีจะบอกว่าจะเข้าไปเช็คบล็อคครั้งแรกสัปดาห์หน้า (หมายความว่าน่าจะมีรายละเอียดการพัฒนางานโปรเจคกลุ่มและโปรเจค 1 รวมเข้าไปบ้างแล้ว)

นางสาวศิรประภา วัฒนพลอย ///// http://sriraprapa.wordpress.com/

นางสาวพรชนก มีมุข ///// http://paloyploy.wordpress.com/

นางสาวพิมลพรรณ ยืนสุข ///// http://phimolphun51710212.wordpress.com

นางสาวกมลชนก อินเกตุ ///// http://kwangarch.wordpress.com/

นางสาวกมลวรรณ ยังสังข์ ///// http://tidteekamon.wordpress.com/

นางสาวกรรณิกา ห่อทอง

นายขุมทอง ชลประทิน ///// http://boschetto14.wordpress.com/

นางสาวจันจิรา เข็มคง ///// http://junjiranoi.wordpress.com/

นางสาวจุฑาทิพย์ จันทร์ศรี

นางสาวเจนจิรา สุ่มแก้ว ///// http://janenu.wordpress.com/

นายเฉลิมชัย อาสายศ ///// http://hacksitect.wordpress.com/

นางสาวชฎาภัทร์ กลิ่นรัตนะ

นายชนินทร์ ดาทอง

นายชำนิ คำเมืองปลูก ///// https://chamni.wordpress.com/

นางสาวชุติมา สรรค์ประสิทธิ์ ///// http://chutimild.wordpress.com

นายณัฐชนม์ เตียววัฒนะกิจ

นางสาวณัฐพร พัฒนกุลเดช

นายณัฐพล ยวนจิตต์ ///// http://natthapolyuanjit.wordpress.com/

นายธงชัย หว้าสุวรรณไพศาล ///// http://thongchai52710280.wordpress.com/

นางสาวนาตาชา สุนทรพฤกษ์ ///// http://natashatect.wordpress.com/

นางสาวปวีณา แก้วผาบ

นางสาวปัญจรัช ประทีป ณ ถลาง ///// http://panjaras.wordpress.com/

นายพชร วิริยาภรณ์ประภาส ///// http://pluek.wordpress.com/

นางสาวเพ็ญปวีณ์ แจ่มศักดิ์

นางสาวภัทรวดี ภัทรรังษี

นายภานุพงษ์ จันทา

นางสาวมานิตา กลิ่นเฟื่อง ///// http://manita2q.wordpress.com/

นายวัชรินทร์ พรามวิมล

นางสาวศตพร บุญคง ///// http://sataporning.wordpress.com/

นายศุภวัฒน์ วิจิตรพงษา

นายสมชัย ชัยสุนทรโยธิน

นางสาวสวรรยา พิมพ์พาพ์ ///// https://takwannu.wordpress.com/

นางสาวสุดารัตน์ โมลาเลิศ

นายสุริยันต์ ศรีพรมมา ///// http://bellkikulasabayta.wordpress.com/

นายอนุภาพ เมฆฉาย ///// http://anuphapsincearch.wordpress.com/

นายอภิสิทธิ์ บัวเทศ /////

นางสาวอำภา พญาวงษ์ ///// http://layampha.wordpress.com/

นางสาวรติพรรณ บั้นบูรณ์

Mr.Kinzang Dorji ///// http://kinzarchie.wordpress.com/

งานทบทวนวรรณกรรม – ส่งงานครั้งที่ 2 (วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม เวลา 13.00 น.)

จากการส่งงานครั้งแรก อาจารย์เห็นว่าหลายคนยังให้รายละเอียดมาไม่ครบ บางคนไม่ได้บอกกลุ่มของหัวข้อโครงการที่ตนเองสนใจ บางคนก็เลือกทบทวนงานเขียนที่ไม่ค่อยช่วยให้เราเข้าใจการเขียนโครงการที่ต้องการ หลายคนเลือกศึกษาวิทยานิพนธ์ทั้งสามเล่มเลย อาจารย์จึงกำหนดโครงสร้างของงานที่จะต้องส่งในครั้งที่ 2 ดังนี้คือ

1) ให้เขียนเกริ่นถึงแนวทางของหัวข้อโครงการและกลุ่มความสนใจทางด้านสถาปัตยกรรมของแต่ละคน เพื่อดึงเข้าเรื่องว่าทำไมถึงเลือกทบทวนงานเขียนที่ทำ (ประมาณครึ่งหน้า หรือหนึ่งย่อหน้า)

2) ครั้งนี้ให้ส่งเฉพาะงานเขียนที่ทบทวนวิทยานิพนธ์ (กำหนดให้ไม่เกิน 2 ชิ้น – ชิ้นละประมาณ 2 หน้า) โดยทำการศึกษารายละเอียดการเขียนโครงการด้านต่างๆ วิเคราะห์ถึงกระบวนการ ที่มาของข้อมูล และการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดมาเป็นผลงานการออกแบบ พร้อมทั้งระบุถึงประเด็นการศึกษาที่ขาดหายไปหรือเป็นประเด็นที่นิสิตเห็นว่าควรศึกษาเพิ่มเติมต่อยอดจากงานที่ผู้เขียนได้ศึกษาเอาไว้แล้ว แยกเป็นประเด็นต่างๆพร้อมทั้งแนวทางการศึกษาในอนาคต

3) รายชื่องานเขียนที่เกี่ยวข้องอื่นๆ (2-3 ชิ้น) ที่มีการอ้างอิงถึงประเด็นการศึกษาที่นิสิตสนใจในข้อ 1 และ 2 โดยกำหนดถึงประเด็นที่จะศึกษา รายละเอียดต่างๆว่าจะศึกษาบทใดหรือส่วนใดของงานเขียนนั้นๆบ้าง รวมถึงประโยชน์ที่จะได้รับในแง่ของความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเขียนโครงการของตนเองในอนาคต โดยงานทบทวนวรรณกรรมส่วนนี้จะยกไปส่งในครั้งที่ 3 ประมาณสัปดาห์ที่ 10 (รายละเอียดงานจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง)

STU2: Project 1 – Pinup

pinup รอบนี้ให้ทำลงเพลท a1 แนวตั้งต่อกันจำนวนกี่แผ่นก็ได้ (หมายความว่าเอาด้านยาวต่อกัน) ส่วนเรื่องมาตราส่วนไม่กำหนดขอให้อ่านแบบได้ชัดเจนเป็นพอ (น่าจะ 1:125 ขึ้นไป) ส่งงานกันบ่ายโมงวันพฤหัสเลย ขอให้มาตรงเวลาเพราะอาจารย์จะเช็คชื่อด้วยครับ

หน้าถัดไป »